รีวิวเครื่องเสียง FOR DUMMIES

รีวิวเครื่องเสียง for Dummies

รีวิวเครื่องเสียง for Dummies

Blog Article

เมื่อได้ซิสเตมที่ลงตัวในทุก ๆ องค์ประกอบแล้ว ระหว่างนั่งฟังไปเรื่อย ๆ บางช่วงเวลาผมเกือบลืมไปเลยว่าที่กำลังฟังอยู่นี้ คือ เครื่องเสียงรุ่นประหยัดที่ราคารวมกันถูกกว่าสายสัญญาณหรือสายไฟเอซีหลายรุ่นเสียอีก

) จะมีผลทำให้ความถี่นั้นมีความดังที่ลดลง ซึ่งเป็นผลแบบเดียวกับการปรับลดความดังของเสียงด้วยอีควอไลเซอร์ (

เสียงกลางที่ได้จากอินทิเกรตแอมป์รุ่นนี้มีลักษณะเปิดเผยเจือไว้ด้วยความนุ่มนวล มีความสดใสเป็นธรรมชาติพอประมาณให้สัมผัสรับรู้ได้ โดยมีจุดเด่นตรงน้ำเสียงที่ฟังสบายหู ขณะที่เสียงทุ้มก็มีเนื้อมีหนังมีน้ำหนักเพียงพอที่จะฟังเพลงทุกแนวได้อย่างสนุกเร้าใจ

ที่ลำโพงแนะนำไว้ไม่มีอันตราย เพราะในการใช้งานจริงเรามีวอลลุ่มทำหน้าที่เหมือนวาล์วที่คอยควบคุมกำลังขับที่ไหลไปที่ลำโพงอยู่แล้ว ซึ่งกำลังขับที่ “มากพอ” ของแอมป์จะสามารถควบคุมลำโพงได้เต็มที่ ทำให้เกิดผลดีต่อเสียง ส่วนกำลังที่มีเกินพอจะกลายเป็นกำลังสำรองสำหรับตอบสนองให้กับลำโพงในขณะที่สัญญาณเสียงมีลักษณะกระโชกดังขึ้นอย่างรวดเร็ว

ตัวนี้ในระดับสมรรถนะที่สูงกว่านี้อีกเยอะ โดยเฉพาะในแง่ของน้ำหนักเสียง

และถ้าหากต้องการยกหรือวางหัวเข็มก็อย่ายกเองอย่างเครื่องเล่นแผ่นเสียงระบบแมนน่วล แต่ให้กดปุ่มด้านขวามือสุดที่หน้าเครื่อง ฟังก์ชันนี้เปิดโอกาสให้เราสามารถพักการเล่นชั่วคราว หรือเริ่มต้นเล่นที่แทรคใด ๆ หรือช่วงเวลาใด ๆ ก็ได้

การรายงานผลการทดสอบ ผมจะขอเริ่มที่ตัว

ส่วนต่อขยายท่อ (ก๊าซทำความเย็นเพิ่มเติม*)

เข้ามาช่วยดูดซับพลังงานความถี่ในย่านกลางและแหลมลงไปบางส่วน แต่สมมุติว่า เจ้าของห้องพยายามแก้ไขปัญหาระดับหนึ่งด้วยการติดม่านสูงตลอดแนวของผนังด้านข้างปิดทับผนังปูนหรือกระจกทั้งหมด ซึ่งจะทำให้ผนังด้านนี้มีคุณสมบัติเปลี่ยนไปเป็นตรงข้าม คือดูดกลืนความถี่ในย่านกลาง–แหลมแทนที่จะสะท้อน ซึ่งกรณีนี้ ก็ควรเลือกใช้ตัว

If you disable this cookie, we will not be able to save your preferences. Which means that every time you visit this Web site you will need to help or disable cookies all over again.

สื่อออนไลน์สำหรับคนรักเครื่องเสียง, โฮมเธียเตอร์ และดนตรี

ก็ขึ้นอยู่กับลักษณะสัดส่วนของห้อง, คุณสมบัติในการดูดซับ/สะท้อนของพื้นผิวบนผนังเดิม ซึ่งคุณต้องวิเคราะห์ปัญหาตรงตำแหน่งนั้นๆ ออกมาก่อน ยกตัวอย่างเช่น กรณีที่ผนังด้านข้างซ้ายและขวาทำด้วยวัสดุที่มีความแข็ง อย่างเช่นปูนหรือกระจก และลำโพงวางห่างผนังไม่มาก รูปแบบนี้มีโอกาสที่เสียงในย่านแหลมและย่านกลางจะก้องสะท้อนมากเกินไป การแก้ปัญหาก็ควรใช้ตัว

ซึ่งกันและกัน เหตุผลที่ต้องทำแบบนี้เป็นเพราะพื้นฐานของระบบเสียงสเตริโอที่ใช้การกระจายคลื่นเสียงผ่านออกมาทางลำโพงสองตัว เข้ามาผสมกันตรงตำแหน่งนั่งฟังกลายเป็นสนามเสียงเดียวกัน ดังนั้น ลำโพงซ้าย–ขวาจะต้องมีคุณสมบัติในการกระจายเสียงที่เหมือนกันทุกประการ (เฟส, ความถี่ตอบสนอง, ไดนามิกเร้นจ์) รวมถึงสภาพอะคูสติกที่อยู่รอบๆ ลำโพงทั้งสองข้างก็ต้องเหมือนกันด้วย

For those who disable this cookie, we won't be ready to help you save your Tastes. Therefore when รีวิวเครื่องเสียง you stop by this Web page you have got to empower or disable cookies once again.

Report this page